Page 13 - วารสารมุมสรรพากร ปีที่ 9 ฉบับที่ 99 | มกราคม 2564
P. 13

  ในภาวะวิกฤตน้นัสิง่ที่ทุกคนต้องการมากที่สุด คือการรบั ทราบขอ้ มลู ที่ถกู ต้องทันท่วงทีจากภาครฐั เพราะผู้คนส่วนมากจะมีความรู้สึกกระหายข้อมูล อยากรูเ้ ร่อื งราวทเ่ี กดิ ขน้ึ ตอ้ งการตดิ ตามสถานการณ์ เป็นความต้องการรับรู้ข้อมูลที่ชัดเจน ครบถ้วน ถูกต้อง และรวดเร็วทันเหตุการณ์ หากข้อมูล จากภาครัฐล่าช้าจะทําาให้ประชาชนหันไปให้ความ สนใจการรายงานข้อมูลข่าวสารทาง Social Media และส่ือมวลชน ซ่ึงอาจเกิดความสับสนได้ อย่างไร ก็ตาม การส่ือสารในภาวะวิกฤตต้องเช่ือมโยง หลายภาคส่วนท้ังภาครัฐ ส่ือมวลชน และองค์กร ท่ัวไปโดยแตล่ ะภาคสว่ นตอ้ งมกี ลยทุ ธก์ ารสอ่ื สารเพ่ือ สรา้ งความเขา้ ใจต่อสถานกาณน์ น้ั ๆได้อยา่ งถกู ต้อง ภาครัฐ ภาครัฐ ภ า ค ร ฐั ค ว ร ม แี น ว ท า ง ใ น ก า ร ส ่ อื ส า ร ท เี ่ ป น็ ร ะ บ บ โดยควรมคี ณะทําางานการส่อื สารในภาวะวิกฤตและ กําาหนดผู้มีอําานาจสูงสุดในการตัดสินใจและเป็นผู้ กําาหนดทิศทางการส่ือสารไปยังสาธารณชนมวีาระ ของการใหข้ ่าวอย่างเปน็ ทางการ (Agenda Setting) ว่าจะใหข้ า่ วรูปแบบไหนชว่ งเวลาไหนและควรจะใช้ ช่องทางใด (Communication Channel) สิ่งท่ีสําาคัญของการส่ือสารในภาวะวิกฤตอย่าง หน่งึ คือ ต้องกาํา หนดตัวผใู้ หข้ า่ ว (Spokesperson) ซ่งึ บุคคลนมี้ คี วามสําาคัญ เพราะต้องเข้าใจสถานการณ์ และสามารถส่ือสารได้ดี เพราะถ้าพูดไม่รู้เร่ือง ส่ือสารไม่เป็น หรือไม่เข้าใจสถานการณ์จะส่งผล ต่อความน่าเช่ือถือและอาจกลายเป็นผู้สร้างความ สับสนเสียเอง สําาหรับสาร (Message) ที่จะส่ือออกไปในยาม วิกฤตควรใช้ข้อความชุดเดียวกันในการแจ้งข้อมูล (Single Message) เพ่ือป้องกันความสับสน และ จะได้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด หากมีรายละเอียด ที่ต้องส่ือสารมาก อาจแยกนาํา เสนอเปน็ รายประเด็น นอกจากนี้ ควรมีการวิเคราะห์ผู้รับสาร (Receiver) เพ่อื ทจ่ี ะไดอ้ อกแบบสารใหต้ รงกบั ความตอ้ งการของ ผรู้ับสารแต่ละกลุ่ม กรมสรรพากร The Revenue Department          Law+ RD Varieties+ RD Inside+ 13       


































































































   11   12   13   14   15