Page 20 - วารสารมุมสรรพากร ปีที่ 9 ฉบับที่ 99 | มกราคม 2564
P. 20

มุุมสรรัรัรพากกิรรั  “The Pandemic“ ย้อนประวัติศาสตร์โรคระบาด ในรอบ 300 ปี   วารสารสรรพากรฉบับน้ี ขอเสนอ ในเรอื่ งของโรคระบาดรา้ ยแรงทเ่ี คย เกดิ ขน้ึ มาแลว้ ในรอบ 300 ปที ผ่ี า่ นมา จากเหตุการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-19) ท่ีทั่วโลกกําาลังเผชิญ อยู่น้ี เราจะก้าวผ่านมันไปด้วยกัน เพราะน่ีไม่ใช่คร้ังแรกท่ีมนุษยชาติ เผชิญกับโรคระบาดร้ายแรง ทค่ี รา่ ชวี ติ ผคู้ นหลกั แสนหลกั ลา้ นคน ทวั่ โลกเราจะมายอ้ นรอยกลบั ไปเมอ่ื 300 ปีที่ผ่านมา ว่ามนุษย์ต้อง ผ่านการท้าทายจากโรคระบาดหนัก อะไรมาบ้าง เพ่ือจะได้เป็นกําาลังใจ ใหพ้ วกเราทตี่ อ้ งเผชญิ กบั COVID-19 ในคร้ังนี้ว่า เราก็จะก้าวผ่าน และเอาชนะโรครา้ ยไปไดเ้ ชน่ ทีผ่ า่ นมา น์พดุล อิศรัางกิูรั ณั อยุธัยา นักประชาสัมพั นธ์ปฏิิบัติการ กาฬโรค (The Black Death) พ.ศ. 2263 (ค.ศ. 1720) กาฬโรค(Plague)เปน็ โรคระบาดรุนแรงทตี่ ดิ ตอ่ จากสตั ว์ สคู่ นเกดิ จากเช้อื แบคทเี รยี ช่อื วา่ “YersiniaPestis”เยอรซ์ เิ นยี เพสทิส ซ่ึงอาศัยอยู่ในสัตว์ฟันแทะท่ีมีขนาดเล็ก เช่น หนู ในปี 2263 เป็นการระบาดครั้งใหญ่คร้ังสุดท้ายของฝ่ ังยุโรป ในเมืองมาร์เซย์ ประเทศฝร่ังเศส มีผู้เสียชีวิตจําานวนมาก อาการของผู้ป่วยกาฬโรคจะมีอาการตามช่ือที่ถูกเรียกกันว่า “ความตายสีดําา” หรือ “Black Death” กล่าวคือ ตามร่างกาย ของผู้ป่วยจะมีสีดําาคล้ำาอันเน่ืองมาจากเซลล์ผิวหนังท่ีตายไป ส่วนอาการของผู้รับเช้ือกาฬโรคจะมีแผลขนาดเท่าไข่ไก่ หรือผลส้มตรงต่อมน้ำาเหลืองต่างๆ จากนั้นจะมีไข้สูง ปวด ตามแขนและขา เม่ืออาการหนักจะเจ็บปวดทุกข์ทรมาน กระท่ังเสียชีวิต ส่วนในประเทศไทย กาฬโรคน้ันได้ระบาด ในประเทศไทยมาตง้ั แตช่ ว่ งเวลาของการสถาปนากรงุ ศรอี ยธุ ยา โดยเช่อื วา่ สาเหตนุ า่ จะมาจากหนทู มี่ เี ช้อื กาฬโรคผา่ นเรอื สนิ คา้ ซ่ึงเดินทางไปติดต่อค้าขายในประเทศต่าง ๆ  20 RD Society+ Feature+ Story Sharing+  


































































































   18   19   20   21   22