หน้าหลัก
บุคคลธรรมดา
นิติบุคคล
รวมกฎหมายภาษี
ข่าวกรมสรรพากร
English
ค้นหา...
A
A-
A+
เมนู
ปิด
บุคคลธรรมดา
ความรู้เรื่องภาษี
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
เมื่อมีเงินได้เกิดขึ้นแล้วผู้มีหน้าที่เสียภาษีจะต้องทำอะไรบ้าง
เมื่อมีเงินได้เกิดขึ้นแล้วผู้มีหน้าที่เสียภาษีจะต้องทำอะไรบ้าง
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ใครมีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
เมื่อมีเงินได้เกิดขึ้นแล้วผู้มีหน้าที่เสียภาษีจะต้องทำอะไรบ้าง
เงินได้อะไรบ้างที่ต้องเสียภาษี
ผู้ที่มีเงินได้เกิดขึ้นในระหว่างปีภาษีมีหน้าที่ต้องยื่นแบบฯ เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาทุกกรณีหรือไม่
เงินได้อันเป็นเหตุให้ต้องนำไปรวมคำนวณภาษีมาจากแหล่งใดบ้าง
ประเภทเงินได้ที่ต้องเสียภาษี
ประเภทเงินได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี
วิธีการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสิ้นปี
การหักค่าใช้จ่าย
การหักลดหย่อน
กำหนดเวลายื่นแบบ
สถานที่ยื่นแบบแสดงรายการ
วิธีการชำระภาษี
กรณีไม่ชำระภาษีตามกำหนดเวลา
อัตราภาษี
การบริจาคเงินภาษีให้แก่พรรคการเมือง
การขอผ่อนชำระภาษี
การขอคืนเงินภาษีอากร
ข้อคิดสะกิดใจการยื่นแบบ ภ.ง.ด.90,91
เมื่อมีเงินได้เกิดขึ้นแล้ว ผู้มีหน้าที่เสียภาษีจะต้องทำอะไรบ้าง?
ขอมีเลข และบัตรประจำตัวผู้เสียภาษี ภายใน 60 วัน นับแต่วันที่มีเงินได้เกิดขึ้น กรณีเป็นผู้มีเงินได้ ที่ไม่มีเลขประจำตัวประชาชน ได้แก่ เป็นคนต่างด้าว หรือกองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง
เว้นแต่
ผู้มีเงินได้ ที่มีเลขประจำตัวประชาชน
สามารถใช้ เลขประจำตัวประชาชน แทนเลขประจำตัว ผู้เสียภาษีอากรได้
โดยไม่ต้องขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรอีก
ผู้มีเงินได้ที่มีภูมิลำเนา อยู่ใน
กรุงเทพมหานคร
อาจยื่นคำร้อง ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่ กรุงเทพมหานคร ทั้ง 30 แห่ง หรือ สำนักสรรพากรพื้นที่ สาขา(อำเภอ)ทุกแห่ง
สำหรับใน
ต่างจังหวัด
ยื่นคำขอได้ที่สำนักงานสรรพากร พื้นที่ (จังหวัด) และสำนักงานสรรพากร พื้นที่สาขา (อำเภอ) ทุกแห่ง แล้วแต่กรณี
ยื่นแบบแสดงรายการ ปกติปีละ 1 ครั้ง เงินได้ ของปีใด ก็ยื่นแบบฯ ภายใน วันที่ 31 มีนาคม ของปีถัดไป เว้นแต่ เงินได้ บางลักษณะ เช่น การให้เช่า ทรัพย์สิน เงินได้จาก วิชาชีพอิสระ เงินได้จาก การรับเหมา เงินได ้จากธุรกิจ การพาณิชย์ เป็นต้น จะต้อง ยื่นแบบฯ ตอนกลางปี สำหรับเงินได้ ที่เกิดขึ้นใน 6 เดือนแรก ภายใน เดือนกันยายน ของทุกปี
ปรับปรุงล่าสุด: 21-11-2020