(วันที่รับปัญหา : 17 ตุลาคม 2565 ปรับปรุงเมื่อ : 17 ตุลาคม 2565)
กรณีป้อนยอดเงินเกิน สามารถยื่นเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุงข้อมูล ขั้นตอนดังนี้
1.1 ประสานงานกับสำนักงานสรรพากรพื้นที่ตามภูมิลำเนาหรือ กองบริหารภาษีธุรกิจขนาดใหญ่
1.2 สำนักงานสรรพากรพื้นที่ตามภูมิลำเนาหรือกองบริหารภาษีธุรกิจขนาดใหญ่ แนะนำให้ยื่น ค.10 เพื่อขอคืนเงินภาษีและยื่นแบบปรับปรุง เป็นฉบับเพิ่มเติม (ติดลบ)
1.3 ยื่นแบบระบุจำนวนเงินได้หรือภาษีเท่าที่ยื่นไว้เกิน ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา และทำการยื่น ค.10 ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่ตามภูมิลำเนาหรือกองบริหารภาษีธุรกิจขนาดใหญ่ เพื่อขอคืนภาษีต่อไป
(วันที่รับปัญหา : 17 ตุลาคม 2565 ปรับปรุงเมื่อ : 17 ตุลาคม 2565)
2.1 ให้บันทึกเงินได้ดังกล่าวเป็นรายรับไม่ประจำ ทั้งแบบรายได้คงที่ และไม่คงที่
2.2 เสร็จแล้วให้ประมวลผลภาษีประจำเดือน เพื่อออกรายงาน สรุปเงินได้ / ภาษีสะสมประจำเดือน และตรวจทานความถูกต้องกับการจ่ายเงินเดือน
2.3 ถ้ามีภาษีต้องหักนำส่ง ต้องหักภาษีนำส่ง ตามการคำนวณ หรือถ้าประสงค์จะระบุภาษีที่ชำระเองโดยบันทึกแก้ไขหลังประมวลผลเงินเดือน และต้องยอมรับผลจากการคำนวณเองเมื่อ ครบรอบบัญชีที่ต้องยื่นแบบ ภ.ง.ด.90/91 จะต้องดำเนินการกับส่วนที่ชำระภาษีไว้เกิน หรือ ขาด ในการยื่นแบบ ภ.งด 90 / 91 ประจำปีภาษีนั้น ๆ ต่อไป
(วันที่รับปัญหา : 17 ตุลาคม 2565 ปรับปรุงเมื่อ : 17 ตุลาคม 2565)
3.1 กรณีมีการเปลี่ยนแปลงเงินเดือนระหว่างปี ให้บันทึกปรับปรุงข้อมูลเงินเดือนของพนักงานรายนั้น ๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงเงินเดือน ก่อนที่จะประมวลผลภาษีประจำเดือนของเดือนนั้น ๆ
(วันที่รับปัญหา : 17 ตุลาคม 2565 ปรับปรุงเมื่อ : 17 ตุลาคม 2565)
4.1 กรณีจัดทำเงินเดือนบันทึกที่รายรับไม่ประจำ หรือ กรณีบันทึกบันทึกจากข้อมูลใบแนบ ภ.ง.ด.1 โดยตรง ใช้เงินได้มาตรา 40(2)
(วันที่รับปัญหา : 17 ตุลาคม 2565 ปรับปรุงเมื่อ : 17 ตุลาคม 2565)
5.1 กรณีบันทึกบันทึกจากข้อมูลใบแนบ ภ.ง.ด.1 โดยตรง ใช้เงินได้มาตรา 40(2)
(วันที่รับปัญหา : 17 ตุลาคม 2565 ปรับปรุงเมื่อ : 17 ตุลาคม 2565)
6.1 กรณีบันทึกจัดทำเงินเดือน เงินโบนัสที่จ่าย ณ รอบบัญชีที่รับให้บันทึกที่รายรับไม่ประจำ หรือ กรณีบันทึกบันทึกจากข้อมูลใบแนบ ภ.ง.ด.1 โดยตรง ใช้เงินได้มาตรา 40(1) โดยรวมยอดเงินได้ทั้งหมดของรอบบัญชีนั้น ๆ (เงินเดือนรวมกับเงินโบนัส)
(วันที่รับปัญหา : 17 ตุลาคม 2565 ปรับปรุงเมื่อ : 17 ตุลาคม 2565)
7.1 เนื่องจากไม่เป็นรายได้จากเงินเดือน ให้บันทึกที่เมนูจัดทำ ภ.ง.ด.3
(วันที่รับปัญหา : 17 ตุลาคม 2565 ปรับปรุงเมื่อ : 17 ตุลาคม 2565)
8.1 การจ่ายเงินค่าล่วงเวลา ถือเป็นการจ่ายเงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน ตามมาตรา 40(1) แห่งประมวลรัษฎากร ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 50(1) แห่งประมวลรัษฎากร โดยศึกษาวิธีการคำนวณได้จาก คำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.96/2543ฯ เป็นการจ่ายเงินได้ ตามมาตรา 40(1) แห่งประมวลรัษฎากร บริษัทต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 50(1) แห่งประมวลรัษฎากร โดยศึกษาวิธีการคำนวณได้จาก คำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.96/2543ฯ