เมนูปิด

ตัวอย่างการคำนวณเบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม
ตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป. 81/2542



 
1. ตัวอย่างการคำนวณเบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่มนี้ได้แสดงการคำนวณภาษีขายหักด้วยภาษีที่ซื้อทั้งกรณีจากการยื่นแบบแสดงรายการ ภ.พ. 30 และจากการคำนวณภาษีที่ถูกต้อง ซึ่งการคำนวณภาษีขายหักด้วยภาษีซื้อจำนวนที่ถูกต้องอาจเกิดจากกรณีที่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีตรวจสอบความผิดเองและไปยื่นแบบแสดงรายการ ภ.พ. 30 เพิ่มเติม หรืออาจเกิดจากการตรวจสอบของเจ้าพนักงานประเมินซึ่งเจ้าพนักงานประเมินจะได้มีหนังสือแจ้งการประเมินภาษีต่อไป
 
2. การคำนวณเบี้ยปรับในกรณีการไม่ได้จัดทำใบกำกับภาษีและส่งมอบให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ หรือไม่ได้จัดทำรายงานภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือลงรายการในรายงานไม่ถูกต้องครบถ้วน หรือกรณีมีสินค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบ เป็นการคำนวณเบี้ยปรับนอกเหนือจากการคำนวณภาษีตาม 1. ซึ่งได้อธิบายวิธีการคำนวณไว้ในคำสั่งกรมสรรพากรดังกล่าวแล้ว

 


1. กรณีไม่ได้ยื่นแบบ ภ.พ.30
 1.1การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มมีภาษีต้องชำระ
  ภาษีขาย (บาท)
1,000
  
  ภาษีซื้อ
   750
  
  ภาษีที่ต้องชำระ
   250
  
  เงินเพิ่ม มาตรา 89/1   250 X 1.5% ต่อเดือน
  เบี้ยปรับ มาตรา 89(2)  250 X 2 เท่า
 1.2การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มมีภาษีชำระเกิน
  ภาษีขาย (บาท)
1,000
  
  ภาษีซื้อ
   1,750
  
  ภาษีที่ต้องชำระ
   0
  
  ภาษีที่ชำระไว้เกิน
   (750)
  
  เงินเพิ่ม มาตรา 89/1   ไม่มี
  เบี้ยปรับ มาตรา 89(2)  ไม่มี

2. กรณียื่นแบบ ภ.พ. 30 เมื่อพ้นกำหนดเวลา ซึ่งผู้มีหน้าที่เสียภาษีต้องรับผิดเบี้ยปรับและเงินเพิ่มตาม 1. ไปแล้ว ต่อมาได้มีการยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติม หรือเจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบพบความผิด
 2.1แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีต้องชำระและการคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีต้องชำระ

 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท) 
1,000
1,600
600
 ขายขาด
ภาษีซื้อ 
   750
   400
  (350)
 ซื้อเกิน
ภาษีที่ต้องชำระ 
250
1,200
950
 คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา 
   (70)
   (70)
   0
  
ภาษีต้องชำระสุทธิ 
   180
 1,130
   950
  
เงินเพิ่มมาตรา 89/1950 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับมาตรา 89(2)950 X 2 เท่า
 มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด600 X 1 เท่า
 มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน350 X 1 เท่า
 
ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(2) จำนวน 1,900 บาท

 2.2แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีชำระไว้เกิน และการคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีชำระไว้เกิน
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท) 
1,000
1,600
600
 ขายขาด
ภาษีซื้อ 
2,750
2,400
  (350)
 ซื้อเกิน
ภาษีที่ชำระไว้เกิน 
(1,750)
(800)
950
 คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา 
   (70)
   (70)
   0
  
ภาษีต้องชำระไว้เกินสุทธิ 
(1,820)
(870)
   950
  
เงินเพิ่มมาตรา 89/1ไม่มี
เบี้ยปรับมาตรา 89(2)ไม่มี
 มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด600 X 1 เท่า
 มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน350 X 1 เท่า
 
ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จำนวน 950 (600 + 350) บาท

 2.3 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีชำระไว้เกิน แต่การคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีต้องชำระ
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท) 
1,000
1,600
600
 ขายขาด
ภาษีซื้อ 
2,750
1,400
(1,350)
 ซื้อเกิน
ภาษีชำระไว้เกิน 
(1,750)
200
1,950
 คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา 
   (70)
   (70)
   0
  
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ 
(1,820)
130
1,950
  
เงินเพิ่มมาตรา 89/1130 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับมาตรา 89(2)200 X 2 เท่า
 มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด600 X 1 เท่า
 มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน1,350 X 1 เท่า
 
ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จำนวน 1,950 (600 + 1,350) บาท

 2.4 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีต้องชำระแต่การคำนวณที่ถูกต้องชำระไว้เกิน         
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท) 
1,000
1,600
600
 ขายขาด
ภาษีซื้อ 
   750
2,000
1,250
 ซื้อขาด
ภาษีต้องชำระ 
   250
(400)
(650)
 คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา 
   (70)
   (70)
   0
  
ภาษีต้องชำระสุทธิ 
   180
(470)
(650)
  
เงินเพิ่มมาตรา 89/1ไม่มี
เบี้ยปรับมาตรา 89(2)ไม่มี
 มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด600 X 1 เท่า
 มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกินไม่มี
 
ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จำนวน 600 บาท

3. กรณียื่นแบบ ภ.พ. 30 ภายในกำหนดเวลา แต่กรอกตัวเลขผิดพลาดและไม่ได้ชำระภาษีมูลค่าเพิ่มให้ถูกต้องครบถ้วนพร้อมการยื่นแบบ ภ.พ. 30
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท) 
2,500
2,500
  0
 
ภาษีซื้อ 
2,000
2,000
  0
 
ภาษีต้องชำระ 
  400
  500
 100
 
ภาษีชำระไว้เกินยกมา 
   (20)
   (20)
   0
  
ภาษีต้องชำระสุทธิ 
   380
   480
   100
  
เงินเพิ่มมาตรา 89/1480 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับมาตรา 89(3)ไม่มี
 มาตรา 89(4)ไม่มี

4. กรณียื่นแบบ ภ.พ. 30 ภายในกำหนดเวลาและชำระภาษีไปแล้ว ต่อมามีการยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติมภายในกำหนดเวลาโดยชำระภาษีพร้อมการยื่นแบบเพิ่มเติม
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท) 
1,500
2,400
900
 ขายขาด
ภาษีซื้อ 
1,000
600
(400)
 ซื้อเกิน
ภาษีต้องชำระ 
500
1,800
1,300
 คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา 
   (70)
   (70)
   0
  
ภาษีต้องชำระสุทธิ 
430
1,730
1,300
  
เงินเพิ่มมาตรา 89/1ไม่มี
เบี้ยปรับมาตรา 89(3)ไม่มี
 มาตรา 89(4) ไม่มี

5. กรณียื่นแบบ ภ.พ. 30 ภายในกำหนดเวลาและชำระภาษีไปแล้ว ต่อมามีการยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติมภายในกำหนดเวลา โดยไม่ได้ชำระภาษีพร้อมการยื่นแบบเพิ่มเติม
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท) 
1,500
2,400
900
 ขายขาด
ภาษีซื้อ 
1,000
600
(400)
 ซื้อเกิน
ภาษีต้องชำระ 
500
1,800
1,300
 คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา 
   (70)
   (70)
   0
  
ภาษีต้องชำระสุทธิ 
430
1,730
1,300
  
เงินเพิ่มมาตรา 89/11,300 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับมาตรา 89(3)ไม่มี
 มาตรา 89(4) ไม่มี

ตัวอย่าง(ต่อ) >>

 

ปรับปรุงล่าสุด: 10-02-2022