ฉบับที่ 395 (พ.ศ.2567) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการลงทุนเพื่อความยั่งยืนของประเทศไทย แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 394 (พ.ศ.2567) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร การปรับปรุงการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับค่าชดเชยที่ลูกจ้างได้รับจากนายจ้างกรณีถูกเลิกจ้าง แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 393 (พ.ศ.2567) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านภาคอสังหาริมทรัพย์ และการเตรียมการเพื่อรองรับการดำเนินการยกระดับประเทศไทยสู่ศูนย์กลางเมืองแห่งอุตสาหกรรมระดับโลก (Thailand Vision) (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 445)ฯ) |
ฉบับที่ 392 (พ.ศ.2567) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร มาตรการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับค่าตอบแทนที่กระทรวงสาธารณสุขจ่ายให้แก่เจ้าหน้าที่และบุคคลภายนอก ซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ตามที่ได้รับอนุญาตจากกระทรวงการคลังในปีภาษี พ.ศ. 2566 |
ฉบับที่ 391 (พ.ศ.2566) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร เพื่อมาตรการภาษี Easy E-Receipt (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 443)ฯ) |
ฉบับที่ 390 (พ.ศ.2566) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการลงทุนเพื่อความยั่งยืนของประเทศไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 126) (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 442)ฯ) |
ฉบับที่ 389 (พ.ศ.2566) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยภาษีเงินได้ การลดอัตราภาษีหัก ณ ที่จ่าย (e-Withholding Tax) แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 144) |
ฉบับที่ 388 (พ.ศ.2566) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร มาตรการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับเงินสนับสนุนค่าตอบแทน หรือประโยชน์อื่นใดที่ได้รับจากภาครัฐในปีภาษี 2565 |
ฉบับที่ 387 (พ.ศ.2566) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการถ่ายภาพยนตร์ต่างประเทศในประเทศไทย |
ฉบับที่ 386 (พ.ศ.2565) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร มาตรการช้อปดีมีคืนปี 2566 (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 431)ฯ) |
ฉบับที่ 385 (พ.ศ.2565) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นภาษีเงินได้สำหรับวิสาหกิจชุมชนเฉพาะที่เป็นห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 126) (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 432)ฯ) |
ฉบับที่ 384 (พ.ศ.2565) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการดำเนินการเกี่ยวกับเอกสารหลักฐานหรือหนังสือด้วยกระบวนการทางอิเล็กทรอนิกส์ |
ฉบับที่ 383 (พ.ศ.2565) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการให้ดอกเบี้ยแก่ผู้ได้รับคืนเงินภาษีอากร |
ฉบับที่ 382 (พ.ศ.2565) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร มาตรการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสำหรับเงินสนับสนุนที่ได้รับจากโครงการภาครัฐ |
ฉบับที่ 381 (พ.ศ.2565) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ |
ฉบับที่ 380 (พ.ศ.2565) | ยกเว้นภาษีเงินได้จากการโอนคริปโทเคอร์เรนซีหรือโทเคนดิจิทัล (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 424)ฯ) |
ฉบับที่ 379 (พ.ศ.2564) | การยกเว้นรัษฎากร มาตรการช้อปดีมีคืน ปี2565 (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 418)ฯ) |
ฉบับที่ 378 (พ.ศ.2564) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสำหรับค่าตอบแทนที่กระทรวงสาธารณสุขจ่ายให้แก่เจ้าหน้าที่และบุคคลภายนอกซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ตามที่ได้รับอนุญาตจากกระทรวงการคลัง |
ฉบับที่ 377 (พ.ศ.2564) | การดำเนินการเกี่ยวกับเอกสารหลักฐานและทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มด้วยกระบวนการทางอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับผู้ประกอบการที่ได้ให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์จากต่างประเทศ |
ฉบับที่ 376 (พ.ศ.2564) | การขอคืนภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ด้วยกระบวนการทางอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับดอกเบี้ยที่ได้จากพันธบัตรออมทรัพย์ที่กระทรวงการคลังเป็นผู้ออก |
ฉบับที่ 375 (พ.ศ.2564) | การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ |
ฉบับที่ 374 (พ.ศ.2564) | การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 186 |
ฉบับที่ 373 (พ.ศ.2564) | ภาษีเงินได้ การลดอัตราภาษีหัก ณ ที่จ่าย แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 144 |
ฉบับที่ 372 (พ.ศ.2564) | การยกเว้นภาษีเงินได้ ตามโครงการที่ได้รับเงินสนับสนุนหรือประโยชน์เพิ่มจากภาครัฐ |
ฉบับที่ 371 (พ.ศ.2563) | การยกเว้นรัษฎากร แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 370 (พ.ศ.2563) | การกำหนดจำนวนรายได้ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ตามมาตรา 71 ตรี วรรคสาม |
ฉบับที่ 369 (พ.ศ.2563) | การปรับปรุงรายได้และรายจ่ายของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กัน (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 400)ฯ) |
ฉบับที่ 368 (พ.ศ.2563) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นเงินได้เท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าซื้อสินค้าหรือค่าบริการตามมาตรการ “ช้อปดีมีคืน” (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 390)ฯ) |
ฉบับที่ 367 (พ.ศ.2563) | การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ กรณีปรับปรุงโครงสร้างหนี้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 186 |
ฉบับที่ 366 (พ.ศ.2563) | การยกเว้นรัษฎากร ค่าตอบแทนให้แก่บุคคล ที่ปฏิบัติงานด้าน COVID |
ฉบับที่ 365 (พ.ศ.2563) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นเงินได้ที่จ่าย สำหรับเบี้ยประกันสุขภาพของผู้มีเงินได้ (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 383)) |
ฉบับที่ 364 (พ.ศ.2563) | การนำส่งเงินภาษี (e-Withholding Tax) (ดูประกาศอธิบดีกรมสรรพากรฯ ทั่วไป (ฉบับที่ 20)) (ดูประกาศอธิบดีกรมสรรพากรฯ ทั่วไป (ฉบับที่ 31)) |
ฉบับที่ 363 (พ.ศ.2563) | การยกเว้นรัษฎากร มาตรการสร้างความเชื่อมั่นในระบบตลาดทุน (SSF พิเศษ) แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 362 (พ.ศ.2563) | การยกเว้นรัษฎากร การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับเงินสนับสนุนและเงินชดเชยตามมาตรการส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศ และมาตรการส่งเสริมการบริโภคภายในประเทศ “ชิมช้อปใช้” |
ฉบับที่ 361 (พ.ศ.2563) | การลดอัตราภาษีหัก ณ ที่จ่าย แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 144 |
ฉบับที่ 360 (พ.ศ.2563) | การยกเว้นรัษฎากร |
ฉบับที่ 358 (พ.ศ.2563) | การยกเว้นรัษฎากร การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับเงินสนับสนุนและเงินชดเชยตามมาตรการส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศ “ชิมช้อปใช้” |
ฉบับที่ 357 (พ.ศ.2563) | การยกเว้นรัษฎากร สำหรับผลิตภัณฑ์กองทุนรวมเพื่อการออมระยะยาว LTF RMF SSF |
ฉบับที่ 356 (พ.ศ.2563) | การยกเว้นรัษฎากร การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับเงินชดเชยตามมาตรการส่งเสริมการชำระเงินเพื่อซื้อสินค้าและบริการ และการนำส่งข้อมูลภาษีมูลค่าเพิ่มผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ |
ฉบับที่ 355 (พ.ศ.2562) | การรายงานข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลที่มีธุรกรรมลักษณะเฉพาะ |
ฉบับที่ 354 (พ.ศ.2562) | การยกเว้นรัษฎากร สำหรับการยกเว้นรัษฎากร สำหรับเงินได้ที่จ่ายเป็นค่าซ่อมแซมหรือค่าวัสดุหรืออุปกรณ์ในการซ่อมแซมทรัพย์สินที่ได้รับความเสียหายในส่วนที่เป็นอาคาร หรือทรัพย์สินที่ประกอบติดตั้งกับตัวอาคารหรือในที่ดิน อันเป็นที่ตั้งของอาคาร หรือห้องชุดในอาคารชุดหรือทรัพย์สินที่ประกอบติดตั้งกับห้องชุดในอาคารชุด หรือรถหรืออุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกในรถที่ได้รับความเสียหายจากพายุโซนร้อนโพดุล พายุโซนร้อนคาจิกิ หรือมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 367)ฯ) (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 368)ฯ) |
ฉบับที่ 353 (พ.ศ.2562) | ภาษีเงินได้กำหนดอัตราภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย สำหรับการจ่ายเงินได้ตามมาตรา 40 (4)(ก) แห่งประมวลรัษฎากรให้แก่กองทุนรวม แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 144 |
ฉบับที่ 352 (พ.ศ.2562) | การยกเว้นรัษฎากร มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการระดมทุนของสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 351 (พ.ศ.2562) | ภาษีเงินได้ สำหรับภาษีเงินได้ที่การยาสูบแห่งประเทศไทยเสียภาษีเงินได้แทนผู้ขายสินค้ายาสูบที่ซื้อสินค้าจากการยาสูบแห่งประเทศไทยทุกทอดตามมาตรา 65 จัตวา แห่งประมวลรัษฎากร |
ฉบับที่ 350 (พ.ศ.2562) | ภาษีเงินได้ สำหรับภาษีเงินได้ที่การยาสูบแห่งประเทศไทยเสียภาษีเงินได้แทนผู้ขายสินค้ายาสูบที่ซื้อสินค้าจากการยาสูบแห่งประเทศไทยทุกทอดตามมาตรา 48 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร |
ฉบับที่ 349 (พ.ศ.2562) | การยกเว้นรัษฎากร สำหรับเงินได้จากการขายสินค้ายาสูบที่การยาสูบแห่งประเทศไทยได้เสียภาษีเงินได้แทนผู้ขายสินค้าดังกล่าวทุกทอดตามมาตรา 48 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 348 (พ.ศ.2562) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับเงินได้ที่ซื้ออสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคารพร้อมที่ดินหรือห้องชุดในอาคารชุด (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 353)ฯ) |
ฉบับที่ 347 (พ.ศ.2562) | การยกเว้นรัษฎากร ลดหย่อนค่าซื้อหนังสือและค่าบริการหนังสือที่อยู่ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต (e-book) ทุกประเภท (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 350)ฯ) |
ฉบับที่ 346 (พ.ศ.2562) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เพื่อส่งเสริมการซื้อสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 348)ฯ) |
ฉบับที่ 345 (พ.ศ.2562) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กรณีเงินได้เท่าที่จ่ายเป็นค่าซื้อสินค้าการศึกษาและกีฬา ให้แก่ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มและได้รับใบกำกับภาษีตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร สำหรับการซื้อสินค้าในราชอาณาจักร ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 มิถุนายน 2562 (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 347)ฯ) |
ฉบับที่ 344 (พ.ศ.2562) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นเงินได้เท่าที่ผู้มีเงินได้ได้จ่ายเป็นค่าบริการหรือค่าที่พัก สำหรับการท่องเที่ยวในจังหวัดท่องเที่ยวรอง และจังหวัดอื่นที่มิใช่จังหวัดท่องเที่ยวรอง (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 349)ฯ) |
ฉบับที่ 343 (พ.ศ.2562) | การยกเว้นรัษฎากร กำหนดให้เงินได้จากการโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์โดยไม่มีค่าตอบแทนให้แก่ มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา มูลนิธิพระดาบส มูลนิธิสมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า หรือมูลนิธิเทพรัตนเวชชานุกูล เป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 342 (พ.ศ.2562) | การยกเว้นรัษฎากร กำหนดให้เงินได้พึงประเมินเท่าที่ผู้มีเงินได้ซึ่งได้จ่ายระหว่างวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2562 ถึงวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2562 เป็นค่าซ่อมแซมหรือค่าวัสดุหรืออุปกรณ์ในการซ่อมแซมทรัพย์สินที่ได้รับความเสียหายในส่วนที่เป็นอาคาร หรือทรัพย์สินที่ประกอบติดตั้งกับตัวอาคารหรือในที่ดิน อันเป็นที่ตั้งของอาคาร หรือห้องชุดในอาคารชุดหรือทรัพย์สินที่ประกอบติดตั้งกับห้องชุดในอาคารชุด หรือรถหรืออุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกในรถที่ได้รับความเสียหายเป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 355)ฯ) (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 356)ฯ) |
ฉบับที่ 341 (พ.ศ.2561) | การยกเว้นรัษฎากร กรณีเงินได้ เท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าซื้อสินค้าหรือค่าบริการ สําหรับการซื้อสินค้าหรือรับบริการในราชอาณาจักร ตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ถึงวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2562 ตามจํานวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกินหนึ่งหมื่นห้าพันบาท เป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคํานวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 333)ฯ) |
ฉบับที่ 340 (พ.ศ.2561) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นเงินได้เท่าที่ผู้มีเงินได้ได้จ่ายเป็นค่าบริการให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจนำเที่ยว ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ สำหรับการเดินทางท่องเที่ยวในท้องที่ใดท้องที่หนึ่งในจังหวัดท่องเที่ยวรองฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 335 (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 334)ฯ) |
ฉบับที่ 339 (พ.ศ.2561) | การยกเว้นรัษฎากร กำหนดให้ผลตอบแทนเงินฝากที่ได้รับจากการฝากเงินตามหลักการของศาสนาอิสลามทั้งสองหลักการเป็นเงินได้พึงประเมินที่ไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 352)) |
ฉบับที่ 338 (พ.ศ.2561) | การยกเว้นรัษฎากร "เพิ่มความ (99)ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ.2509) ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร" แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 337 (พ.ศ.2561) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีเงินได้ที่ได้จ่ายเพื่อลงหุ้นหรือลงทุนในการจัดตั้งหรือเพิ่มทุนของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ตามจำนวนที่จ่ายจริง แต่รวมกันทั้งหมดแล้วไม่เกินหนึ่งแสนบาท สำหรับปีภาษี (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 330)ฯ) |
ฉบับที่ 336 (พ.ศ.2561) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นเงินได้ที่ผู้มีเงินได้เป็นคนพิการ ซึ่งเป็นคนต่างด้าวและเป็นผู้อยู่ในประเทศไทย โดยมีหนังสือรับรองความพิการจากกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 319)) |
ฉบับที่ 335 (พ.ศ.2561) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นเงินได้เท่าที่ผู้มีเงินได้ได้จ่ายเป็นค่าบริการให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจนำเที่ยวตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ สำหรับการเดินทางท่องเที่ยวในท้องที่ใดท้องที่หนึ่งในจังหวัดท่องเที่ยวรองฯ (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 322)ฯ) |
ฉบับที่ 334 (พ.ศ.2560) | การยกเว้นรัษฎากร เพิ่มความ (97) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509) ฯ “(97) เงินได้เท่าที่ผู้มีเงินได้จ่ายเป็นเบี้ยประกันภัยในปีภาษี ให้แก่บริษัทประกันชีวิตหรือบริษัทประกันวินาศภัยที่ประกอบกิจการในราชอาณาจักรสำหรับการประกันสุขภาพฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 315)) (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 364)) |
ฉบับที่ 333 (พ.ศ.2560) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กรณีเงินได้เท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าซื้อสินค้าหรือค่าบริการให้แก่ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มและได้รับใบกำกับภาษี ตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร สำหรับการซื้อสินค้าหรือรับบริการในราชอาณาจักร ตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ถึงวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ตามจำนวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกินหนึ่งหมื่นห้าพันบาท |
ฉบับที่ 332 (พ.ศ.2560) | การยกเว้นรัษฎากร เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (96) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509) ฯ “(96) เงินได้ที่เป็นเงินเดือนหรือค่าตอบแทนที่ผู้จัดการทั่วไปและรองผู้จัดการทั่วไปของสำนักเลขานุการองค์กรสำรองข้าวฉุกเฉินของอาเซียนบวกสาม ซึ่งเป็นคนต่างด้าวได้รับจากสำนักเลขานุการองค์กรสำรองข้าวฉุกเฉินของอาเซียนบวกสามฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 331 (พ.ศ.2560) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นเงินได้ค่าซ่อมแซมหรือค่าวัสดุหรืออุปกรณ์ในการซ่อมแซมอาคารหรือทรัพย์สินฯ และยกเว้นเงินได้ค่าซ่อมแซมหรือค่าวัสดุหรืออุปกรณ์ในการซ่อมแซมรถ (เงินได้ที่จ่ายระหว่างวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560) (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 307)) (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 308)) |
ฉบับที่ 330 (พ.ศ.2560) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเลิกความใน (78) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509) ฯ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(78) เงินได้ของวิสาหกิจชุมชนตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน เฉพาะที่เป็นห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคลซึ่งมีเงินได้ไม่เกินหนึ่งล้านแปดแสนบาทสำหรับปีภาษีนั้นฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 314)ฯ) |
ฉบับที่ 329 (พ.ศ.2560) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นเงินได้ค่าซ่อมแซมหรือค่าวัสดุหรืออุปกรณ์ในการซ่อมแซมอาคารหรือทรัพย์สินฯ และค่าซ่อมแซมหรือค่าวัสดุหรืออุปกรณ์ในการซ่อมแซมรถฯ (เงินได้ที่จ่ายระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2560) (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 298)) (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 299)) |
ฉบับที่ 328 (พ.ศ.2560) | การยกเว้นรัษฎากร ให้ยกเลิกความใน (1) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 144 (พ.ศ. 2522) ฯ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(1) การจ่ายค่าซื้อพืชผลทางการเกษตรฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 144 |
ฉบับที่ 327 (พ.ศ.2560) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กรณีเงินได้จากการโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์โดยไม่มีค่าตอบแทนของบุคคลซึ่งได้รับเงินค่าใช้จ่ายในพระองค์จากงบประมาณรายจ่ายประจำปี ฯ และเงินได้ที่บุคคลธรรมดาได้รับพระราชทานจากบุคคลซึ่งได้รับเงินค่าใช้จ่ายในพระองค์จากงบประมาณรายจ่ายประจำปี |
ฉบับที่ 326 (พ.ศ.2560) | การยกเว้นรัษฎากร เพิ่มความ (94) และ (95) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509) ฯ “(94) เงินได้เท่าที่ผู้มีเงินได้จ่ายเป็นเงินฝากไว้กับธนาคารที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นโดยเฉพาะในปีภาษีตามจำนวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกินหนึ่งแสนบาท ฯ (95) เงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่ผู้มีเงินได้ได้รับเนื่องจากการฝากเงินกับธนาคารที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นโดยเฉพาะและได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ตาม (94)” แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 363)) (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 387)) |
ฉบับที่ 325 (พ.ศ.2560) | การยกเว้นรัษฎากร เพิ่มความ (92) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509) ฯ “(92) เงินได้ที่นักกีฬาและผู้ฝึกสอนกีฬาได้รับจากการให้โดยเสน่หาเนื่องในพิธีหรือตามโอกาสแห่งขนบธรรมเนียมประเพณี เพื่อเป็นรางวัลอันเนื่องมาจากการเข้าร่วมการแข่งขันรายการมหกรรมกีฬา และรายการแข่งขันกีฬาสมัครเล่นระดับนานาชาติ เฉพาะส่วนที่เกินสิบล้านบาทฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 293)ฯ) |
ฉบับที่ 324 (พ.ศ.2560) | การยกเว้นรัษฎากร เพิ่มความ (92) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ “(92) เงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่ได้รับเนื่องจากการขายหน่วยลงทุนคืนให้แก่กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 เป็นต้นไปฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 286)) |
ฉบับที่ 323 (พ.ศ.2559) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับภาษีเงินได้สำหรับเงินได้เท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าซื้อสินค้าหรือค่าบริการให้แก่ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มตามจำนวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกินหนึ่งหมื่นห้าพันบาท (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 282)ฯ) |
ฉบับที่ 322 (พ.ศ.2559) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับเงินได้เท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าบริการให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจนำเที่ยวตามกฎหมาย ว่าด้วยธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ หรือที่ได้จ่ายเป็นค่าที่พักในโรงแรมให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจโรงแรมตามกฎหมาย ว่าด้วยโรงแรม สำหรับการเดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศฯ (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 280)ฯ) |
ฉบับที่ 321 (พ.ศ.2559) | การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ ยกเลิกความในข้อ 6 ทวิ แห่ง ฉบับ 186 (พ.ศ. 2524)ฯ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทนฯ เรื่อง กำหนดการจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ของเจ้าหนี้ซึ่งเป็นสถาบันการเงิน สำหรับส่วนของหนี้ที่สถาบันการเงินได้ปลดหนี้ให้แก่ลูกหนี้อันเนื่องมาจากการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 186 |
ฉบับที่ 320 (พ.ศ.2559) | ภาษีเงินได้ เพิ่มความ ( 17/2 ) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 144 (พ.ศ. 2522)ฯ เรื่อง การหักภาษี ณ ที่จ่าย สำหรับการจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (8) แห่งประมวลรัษฎากร เฉพาะที่เป็นการจ่ายเงินได้จากการซื้อเพชร พลอย ทับทิม มรกต บุษราคัม โกเมน โอปอล นิล เพทาย ไพฑูรย์ หยก ไข่มุก และอัญมณีที่มีลักษณะทำนองเดียวกันฯ |
ฉบับที่ 319 (พ.ศ.2559) | การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ |
ฉบับที่ 318 (พ.ศ.2559) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เพื่อส่งเสริมการซื้อสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 272)ฯ) |
ฉบับที่ 317 (พ.ศ.2559) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเลิกความ (66) และ (67) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทนฯ เรื่อง กองทุนรวมหุ้นระยะยาวตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 316 (พ.ศ.2559) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับเงินได้ที่ได้จ่ายเป็นค่าบริการหรือค่าที่พัก ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ถึงวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 273)ฯ) |
ฉบับที่ 315 (พ.ศ.2559) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เพื่อส่งเสริมการเดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศ (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 268)ฯ) |
ฉบับที่ 314 (พ.ศ.2559) | การยกเว้นรัษฎากร เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (90) และ (91) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509) เรื่อง กองทุนการออมแห่งชาติ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 313 (พ.ศ.2559) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับเงินได้ที่ซื้ออสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคารพร้อมที่ดินหรือห้องชุดในอาคารชุดฯ (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 264)ฯ) |
ฉบับที่ 312 (พ.ศ.2559) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเลิก (18) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 311 (พ.ศ.2559) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นเงินได้ที่ได้รับจากการถวายโดยเสด็จพระราชกุศลตามพระราชอัธยาศัย หรือพระกุศลตามพระอัธยาศัยฯ |
ฉบับที่ 310 (พ.ศ.2558) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นภาษีเงินได้ สำหรับเงินได้เท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าซื้อสินค้าหรือบริการให้แก่ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มตามจำนวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกินหนึ่งหมื่นห้าพันบาท เป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำมารวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 263)ฯ) |
ฉบับที่ 309 (พ.ศ.2558) | การยกเว้นรัษฎากร เพิ่มความ (89) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ ยกเว้นภาษีเงินได้ สำหรับเงินส่วนแบ่งของกำไรจากห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคลที่ได้จากการให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นกรรมสิทธิ์รวมอันได้มาโดยทางมรดกหรือได้รับจากการให้โดยเสน่หา และดอกเบี้ยเงินฝากตามมาตรา 40 (4) (ก) เป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำมารวมคำนวณภาษีเงินได้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 308 (พ.ศ.2558) | การยกเว้นรัษฎากร กำหนดให้ผลประโยชน์ตอบแทนของเงินสะสม หรือเงินส่วนเพิ่มที่ได้รับตามพระราชบัญญัติการกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญตามพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2494 พ.ศ. 2557 เป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ |
ฉบับที่ 307 (พ.ศ.2558) | การยกเว้นรัษฎากร ให้ยกเลิกความใน (1) ,(37),(57) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทนฯ เรื่อง การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับเงินได้และเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรที่ได้รับจากการประกอบกิจการโรงเรียนเอกชนที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชนฯ ปรับปรุงการยกเว้นภาษีเงินได้ให้แก่ผู้อำนวยการผู้บริหาร ครู หรือบุคลากรทางการศึกษา สำหรับเงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่ได้รับจากกองทุนสงเคราะห์ตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 295)ฯ) |
ฉบับที่ 306 (พ.ศ.2557) | การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ สิทธิประโยชน์ทางภาษีสำหรับการจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ของ เจ้าหนี้ซึ่งเป็นสถาบันการเงินหรือของเจ้าหนี้อื่น สำหรับส่วนของหนี้ที่ได้ปลดหนี้ให้แก่ลูกหนี้อันเนื่องมาจากการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 186 |
ฉบับที่ 305 (พ.ศ.2557) | กำหนดให้เงินได้เท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าบริการให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจนำเที่ยวตามกฎหมาย (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 250)ฯ) |
ฉบับที่ 304 (พ.ศ.2557) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นภาษีเงินได้ เงินช่วยเหลือผู้ซึ่งออกจากราชการและเงินหรือผลประโยชน์ใดๆ ที่สมาชิกกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการได้รับ เมื่อออกจากราชการของกระทรวงกลาโหม |
ฉบับที่ 303 (พ.ศ.2557) | การยกเว้นรัษฎากร ความ (78) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ ขยายเวลายกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับเงินได้ของวิสาหกิจชุมชนตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 302 (พ.ศ.2556) | การยกเว้นรัษฎากร เพิ่มความ (88) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับเงินได้พึงประเมินเท่าจำนวนเงินที่บริจาคให้กรมศิลปากร เพื่อการดำเนินการเพื่อการบูรณะ โบราณสถาน โบราณวัตถุ และศิลปวัตถุตามกฎหมายว่าด้วยโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 301 (พ.ศ.2556) | การยกเว้นรัษฎากร ให้เพิ่มความ (87) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับเงินได้ส่วนที่เป็นเงินค่าทดแทนเงินค่าตอบแทน หรือเงินอื่นที่มีลักษณะทำนองเดียวกันที่ได้รับเนื่องจากความเสียหายหรือเสื่อมประโยชน์ที่เกิดขึ้น จากการใช้อำนาจของรัฐ ตามที่กฎหมายกำหนด ในการเข้าไปในอสังหาริมทรัพย์ การเข้าใช้สอยหรือ เข้าครอบครองอสังหาริมทรัพย์ หรือการใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 300 (พ.ศ.2556) | การยกเว้นรัษฎากร สำหรับเงินได้ที่ได้รับจากรัฐอันเนื่องมาจากการได้มาซึ่งรถยนต์ใหม่เพื่อทดแทนรถยนต์ที่ถูกน้ำท่วมของผู้มีเงินได้เป็นจำนวนเท่ากับภาษีสรรพสามิตของรถยนต์คันดังกล่าว แต่ไม่เกินหนึ่งแสนบาท เป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้น |
ฉบับที่ 299 (พ.ศ.2556) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นภาษีเงินได้สำหรับเงินช่วยเหลือข้าราชการผู้ซึ่งออกจากราชการ ตามมาตรการปรับปรุงอัตรากำลังของส่วนราชการ ตามพระราชกฤษฎีกาเงินช่วยเหลือผู้ซึ่งออกจากราชการตามมาตรการปรับปรุงอัตรากำลังของส่วนราชการ พ.ศ. 2551 และเงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่ได้รับจากกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการฯ |
ฉบับที่ 298 (พ.ศ.2556) | การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ สิทธิประโยชน์ทางภาษีสำหรับการจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ ที่ประสบอุทกภัยของเจ้าหนี้ซึ่งเป็นสถาบันการเงินหรือของเจ้าหนี้อื่นที่เจรจาและตกลงปรับปรุงโครงสร้างหนี้ร่วมกับสถาบันการเงินสำหรับส่วนของหนี้ที่ได้ปลดหนี้ให้แก่ลูกหนี้ที่ประสบอุทกภัย และได้ทำสัญญาปรับปรุงโครงสร้างหนี้ตั้งแต่วันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ถึงวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2555 แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 186 |
ฉบับที่ 297 (พ.ศ.2556) | การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ สิทธิประโยชน์ทางภาษีสำหรับการจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ของเจ้าหนี้ซึ่งเป็นสถาบันการเงินหรือของเจ้าหนี้อื่น สำหรับส่วนของหนี้ที่ได้ปลดหนี้ให้แก่ลูกหนี้ อันเนื่องมาจากการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ ที่ได้กระทำในระหว่างวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2555 ถึงวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2555 แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 186 |
ฉบับที่ 296 (พ.ศ.2555) | ภาษีเงินได้ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 17/2 ) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 144 (พ.ศ. 2522)ฯ กำหนดให้มีการหักภาษี ณ ที่จ่าย สำหรับการจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(8) แห่งประมวลรัษฎากร เฉพาะที่เป็นการจ่ายเงินได้จากการซื้อพลอย ทับทิม มรกต บุษราคัม โกเมน โอปอล นิล เพทาย ไพฑูรย์ หยก และอัญมณีที่มีลักษณะทำนองเดียวกัน เฉพาะที่ยังมิได้เจียระไนฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 144 |
ฉบับที่ 295 (พ.ศ.2555) | การยกเว้นรัษฎากร เพิ่มความ (86) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509) ฯกรณีเงินค่าตอบแทนพิเศษที่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานได้รับตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยบำเหน็จความชอบสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2550ฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 294 (พ.ศ.2555) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเลิกความ (68) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ และให้ใช้ความแทน การยกเว้นภาษีเงินได้สำหรับเงินได้พึงประเมินหลังจากหักค่าใช้จ่ายและหักลดหย่อนเท่าจำนวนเงินที่ได้บริจาคให้แก่การกีฬาแห่งประเทศไทยเพื่อส่งเสริมการกีฬาฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 293 (พ.ศ.2555) | กำหนดให้เงินได้ที่ได้รับจากรัฐ อันเนื่องมาจากการได้มาซึ่งรถยนต์คันแรกของผู้มีเงินได้ตามมาตรการรถยนต์คันแรก |
ฉบับที่ 292 (พ.ศ.2555) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเลิกความ (36) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ และให้ใช้ความแทน สำหรับการปรับปรุงเงื่อนไขในการกำหนดให้เงินหรือผลประโยชน์ใดๆ ที่ได้รับจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนสำรองเลี้ยงชีพฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 291 (พ.ศ.2555) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเลิกความ (50) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ และให้ใช้ความแทน สำหรับผลประโยชน์ที่ได้จากการควบเข้ากันหรือโอนกิจการทั้งหมดให้แก่กัน ซึ่งตีราคาเป็นเงินได้เกินกว่าเงินทุน แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 290 (พ.ศ.2555) | การยกเว้นรัษฎากร ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (85) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ ยกเว้นภาษีเงินได้ สำหรับเงินได้จากการขายหลักทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ในประเทศสมาชิกอาเซียน ที่มีการซื้อขายผ่านระบบที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยจัดให้มีขึ้นเพื่อเชื่อมโยงการซื้อขายกับตลาดหลักทรัพย์ในประเทศสมาชิกอาเซียน แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 289 (พ.ศ.2555) | การยกเว้นรัษฎากร เพิ่มความ (84) ของข้อ 2 ของกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เงินได้ที่นักแสดงสาธารณะที่เป็นนักแสดงภาพยนตร์ซึ่งมีภูมิลำเนาอยู่ในต่างประเทศได้รับอันเนื่องมาจากการแสดงภาพยนตร์ต่างประเทศซึ่งดำเนินการสร้างโดยบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศและได้รับอนุญาตการสร้างตามกฎหมายว่าด้วยภาพยนตร์และวีดิทัศน์ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 288 (พ.ศ.2555) | กำหนดให้เงินได้เท่าที่ผู้มีเงินได้ได้จ่ายเป็นค่าซ่อมแซมหรือค่าวัสดุหรืออุปกรณ์ในการซ่อมแซมอาคาร/รถ (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 219)ฯ) (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 220)ฯ) |
ฉบับที่ 287 (พ.ศ.2555) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเลิกความ (78) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ และให้ใช้ความแทน สำหรับเงินได้ของวิสาหกิจชุมชนตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 221)ฯ) |
ฉบับที่ 286 (พ.ศ.2554) | การยกเว้นรัษฎากร เพิ่มความเป็นวรรคสามของ (21) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ ยกเว้นภาษีเงินได้เพื่อส่งเสริมตลาดพันธบัตรเอเชียแก่ บุคคลธรรมดา ซึ่งมิได้เป็นผู้อยู่ในประเทศไทย แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 285 (พ.ศ.2554) | การยกเว้นรัษฎากร ให้เพิ่มความ (82) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯยกเว้นภาษีเงินได้ สำหรับเงินได้ที่คำนวณได้จากมูลค่าที่ลูกจ้างได้รับจากการนำบุตรของตนไปอยู่ในความดูแลของสถานรับเลี้ยงเด็กตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็กที่นายจ้างได้รับใบอนุญาตให้จัดตั้งขึ้นเพื่อ เป็นสวัสดิการของลูกจ้างสำหรับสถานประกอบการนั้น แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 284 (พ.ศ.2554) | การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ การกำหนดให้เจ้าหนี้ดังกล่าวสามารถจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ได้ตามประมวลรัษฎากรในส่วนของหนี้ที่ได้ปลดหนี้ให้แก่ลูกหนี้ อันเนื่องมาจากการชุมนุมทางการเมืองระหว่างวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2552 ถึงวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2552” .แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 186 |
ฉบับที่ 283 (พ.ศ.2554) | การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ ยกเลิกความในข้อ 6 ทวิ และ ข้อ 6 จัตวา แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 186 (พ.ศ. 2524)ฯ และให้ใช้ความแทน กรณีการกำหนดให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีสำหรับการจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ของเจ้าหนี้ซึ่งเป็นสถาบันการเงินหรือของเจ้าหนี้อื่น สำหรับส่วนของหนี้ ที่ได้ปลดหนี้ให้แก่ลูกหนี้อันเนื่องมาจากการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 186 |
ฉบับที่ 282 (พ.ศ.2554) | การยกเว้นรัษฎากร ให้เพิ่มความ (82) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ ยกเว้นภาษีเงินได้ สำหรับเงินได้ตามมาตรา 40 (5) (6) (7) หรือ (8) แห่งประมวลรัษฎากร ที่ผู้ประสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภัย หรือภัยธรรมชาติอื่น ที่เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554ฯ แก้ไขเพิ่มเติม แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 281 (พ.ศ.2554) | การยกเว้นรัษฎากร ให้เพิ่มความ (81) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับเงินได้ที่ผู้มีเงินได้เป็นคนพิการที่มีบัตรประจำตัวคนพิการตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการฯ แก้ไขเพิ่มเติม .แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 280 (พ.ศ.2554) | กำหนดให้เงินได้ตามมาตรา 40 (5) (6) (7) (8) แห่งประมวลรัษฎากร ที่ผู้ประสบอุทกภัยระหว่างวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2552 ถึงวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2552 (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 196)ฯ) |
ฉบับที่ 279 (พ.ศ.2554) | การยกเว้นรัษฎากร เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสองและวรรคสามของ (61) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวงฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ กำหนดให้เงินได้เท่าที่จ่ายเป็นเบี้ยประกันชีวิตสำหรับกรณีที่จ่ายเป็นเบี้ยประกันชีวิตแบบบำนาญ เป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้เพิ่มขึ้น แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 386)) |
ฉบับที่ 278 (พ.ศ.2553) | กำหนดให้เงินได้เท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าบริการให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจนำเที่ยวตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 187)ฯ) |
ฉบับที่ 277 (พ.ศ.2553) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเลิกความใน (26) ของข้อ 2 และ (44) ของข้อ 2แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ และให้ใช้ความแทน ปรับปรุงประเภทของเงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่ได้รับจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หรือจากกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ เป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 276 (พ.ศ.2553) | การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ ยกเลิกความในข้อ 6 ทวิ และ ข้อ 6 จัตวา แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 186 (พ.ศ. 2524)ฯ และให้ใช้ความแทน กรณีสิทธิประโยชน์ทางภาษีสำหรับการจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ของเจ้าหนี้ซึ่งเป็นสถาบันการเงินหรือของเจ้าหนี้อื่น สำหรับส่วนของหนี้ที่ได้ปลดหนี้ให้แก่ลูกหนี้ อันเนื่องมาจากการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ที่ได้กระทำในระหว่างวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 ถึงวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2552 แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 186 |
ฉบับที่ 275 (พ.ศ.2553) | การยกเว้นรัษฎากร ให้เพิ่มความ (80) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมด สำหรับเงินได้จากการโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์โดยไม่มีค่าตอบแทนให้แก่มูลนิธิสงเคราะห์เด็กของสภากาชาดไทย แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 274 (พ.ศ.2553) | กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของข้อ 8 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 182 (พ.ศ. 252โ)ฯ และให้ใช้ความแทน หลักเกณฑ์และเงื่อนไขสำหรับเงินที่บริษัทได้จ่ายสมทบเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพฯ ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิและขาดทุนสุทธิ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 183 |
ฉบับที่ 273 (พ.ศ.2553) | ภาษีเงินได้ เพิ่มความ (17/1) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 144 (พ.ศ. 2522)ฯ กำหนดให้มีการหักภาษี ณ ที่จ่าย สำหรับการจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(8) แห่งประมวลรัษฎากร เฉพาะที่เป็นการจ่ายเงินได้จากการซื้อพลอย ทับทิม มรกต บุษราคัม โกเมน โอปอล นิล เพทาย ไพฑูรย์ หยก และอัญมณีที่มีลักษณะทำนองเดียวกัน เฉพาะที่ยังมิได้เจียระไนฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 144 |
ฉบับที่ 272 (พ.ศ.2552) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นภาษีเงินได้ สำหรับเงินช่วยเหลือผู้ซึ่งออกจากราชการและเงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่สมาชิกกองทุนเหน็จบำนาญข้าราชการตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการได้รับเมื่อออกจากราชการตามมาตรการปรับปรุงอัตรากำลังของส่วนราชการ พ.ศ. 2551 |
ฉบับที่ 271 (พ.ศ.2552) | เงินได้เท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าซื้ออสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคาร อาคารพร้อมที่ดินหรือห้องชุดในอาคารชุดเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยเป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับการยกเว้น (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 178)ฯ) |
ฉบับที่ 270 (พ.ศ.2552) | การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ ยกเลิกความในข้อ 6 ทวิ และ ข้อ 6 จัตวา แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 186 (พ.ศ. 2534)ฯ และให้ใช้ความแทน กรณีการกำหนดให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีสำหรับ การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ของเจ้าหนี้ซึ่งเป็นสถาบันการเงินหรือของเจ้าหนี้อื่น สำหรับส่วนของหนี้ที่ได้ปลดหนี้ให้แก่ลูกหนี้อันเนื่องมาจากการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 186 |
ฉบับที่ 269 (พ.ศ.2552) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเลิกความ (78) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ และให้ใช้ความแทน สำหรับเงินได้ของวิสาหกิจชุมชนตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 (ยกเลิกโดยกฎกระทรวง (ฉบับที่ 385)ฯ) |
ฉบับที่ 268 (พ.ศ.2552) | การยกเว้นรัษฎากร เพิ่มความ ( 79 ) ของข้อ 2 ของกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ ยกเว้นภาษีเงินได้ สำหรับเงินได้ที่มีลักษณะเดียวกับบำเหน็จดำรงชีพตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญข้าราชการและกฎหมายว่าด้วยกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ซึ่งเจ้าหน้าที่สภากาชาดไทยได้รับ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 267 (พ.ศ.2551) | การยกเว้นรัษฎากร เพิ่มความเป็นวรรคสี่ของ ( 55 ) วรรคสี่ของ ( 66 ) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ เพิ่มวงเงินที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ สำหรับเงินค่าซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพและกองทุนรวมหุ้นระยะยาวตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 266 (พ.ศ.2551) | การยกเว้นรัษฎากร เพิ่มวงเงินที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ สำหรับเงินได้ที่ได้จ่ายเป็นเงินสะสมเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เงินสะสมเข้ากองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ เงินสะสมเข้ากองทุนสงเคราะห์ฯ เงินค่าซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ และกองทุนรวมหุ้นระยะยาว เงินได้ที่ได้จ่ายเป็นเบี้ยประกันภัยสำหรับการประกันชีวิต รวมทั้งเงินได้ของวิสาหกิจชุมชนแก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 288)) (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 361)) (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 385)) |
ฉบับที่ 265 (พ.ศ.2551) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเลิกความ (55) และ (65) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ และให้ใช้ความแทน การปรับปรุงหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข สำหรับเงินได้เท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ และเงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่ผู้มีเงินได้ได้รับจากการขายหน่วยลงทุนคืนให้แก่กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 264 (พ.ศ.2550) | การยกเว้นรัษฎากร เพิ่มจำนวนเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้น สำหรับเงินได้ที่ได้จ่ายเป็นดอกเบี้ย เงินกู้ยืม สำหรับการกู้ยืมเงินเพื่อซื้อ เช่าซื้อ หรือสร้างอาคารที่อยู่อาศัย แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 167)) (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 397)) (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 398)) |
ฉบับที่ 263 (พ.ศ.2549) | การยกเว้นรัษฎากร เพิ่มความ (76) และ (77) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวงฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ ยกเว้นภาษีเงินได้ สำหรับเงินได้เท่าที่ได้จ่ายเป็นเบี้ยประกันภัยสำหรับการประกันสุขภาพบิดามารดาของผู้มีเงินได้ฯ และเงินได้เท่าที่นายจ้างได้จ่ายเป็นเบี้ยประกันภัยสำหรับกรมธรรม์ประกันภัยกลุ่ม เฉพาะในส่วนที่คุ้มครองค่ารักษาพยาบาลเพื่อการประกันภัยลูกจ้างฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 360)) (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 384)) |
ฉบับที่ 262 (พ.ศ.2549) | การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ เพิ่มความข้อ 6 อัฏฐ แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 186 (พ.ศ. 2534)ฯ การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ของเจ้าหนี้ซึ่งเป็นสถาบันการเงิน ในส่วนของหนี้ที่เจ้าหนี้ดังกล่าว ได้ปลดหนี้ให้แก่เกษตรกรฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 186 |
ฉบับที่ 261 (พ.ศ.2549) | การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ของเจ้าหนี้ที่เป็นสถาบันการเงินในส่วนของหนี้ที่เจ้าหนี้ดังกล่าวได้ปลดหนี้ให้แก่ลูกหนี้ที่ประสบธรณีพิบัติภัยในระหว่างวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2548 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 อันเนื่องมาจากการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 186 |
ฉบับที่ 260 (พ.ศ.2549) | การยกเว้นรัษฎากร เพิ่มความ (75) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ.2509)ฯ ยกเว้นภาษีภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับเงินได้จากการขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่กระทำในศูนย์ซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า เฉพาะกรณีที่ไม่มีการส่งมอบสินค้า แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 259 (พ.ศ.2549) | การยกเว้นรัษฎากร เพิ่มความ (74) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ.2509)ฯ ยกเว้นภาษีเงินได้ กรณีเงินได้พึงประเมินที่คณะกรรมการได้รับเพื่อประโยชน์ของโครงการทุนเล่าเรียนหลวงสำหรับพระสงฆ์ไทย แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 258 (พ.ศ.2549) | การยกเว้นรัษฎากร เพิ่มความ (73) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ.2509)ฯ ยกเว้นภาษีเงินได้ กรณีพนักงานการท่าเรือแห่งประเทศไทย พนักงานการรถไฟแห่งประเทศไทย และพนักงานธนาคารออมสิน ได้รับเงินลักษณะเดียวกับบำเหน็จดำรงชีพตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญข้าราชการและกฎหมายว่าด้วยกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 257 (พ.ศ.2549) | การยกเว้นรัษฎากร เพิ่มความ (72) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ.2509)ฯ ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับเงินได้พึงประเมินที่ผู้มีเงินได้ซึ่งเป็นผู้อยู่ในประเทศไทยและมีอายุไม่ต่ำกว่าหกสิบห้าปีบริบูรณ์ในปีภาษีได้รับ เฉพาะส่วนที่ไม่เกินหนึ่งแสนเก้าหมื่นบาทในปีภาษีนั้น แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 150)) |
ฉบับที่ 256 (พ.ศ.2548) | การยกเว้นรัษฎากร เพิ่มความ (71) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับเงินได้จากการโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์โดยไม่มีค่าตอบแทนให้แก่สภากาชาดไทย แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 255 (พ.ศ.2548) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นภาษีเงินได้ สำหรับเงินได้พึงประเมินเท่าจำนวนเงินที่บริจาคเพื่อช่วยเหลือ ผู้ได้รับความเสียหายจากธรณีพิบัติภัยเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ในพื้นที่จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต จังหวัดระนอง และจังหวัดสตูล |
ฉบับที่ 254 (พ.ศ.2548) | การยกเว้นรัษฎากร สิทธิประโยชน์ทางภาษีแก่ข้าราชการซึ่งออกจากราชการตามมาตรการของรัฐบาล ฯ พ.ศ. 2547 และข้าราชการซึ่งออกจากราชการตามาตรการของรัฐบาลฯ พ.ศ. 2548 |
ฉบับที่ 253 (พ.ศ.2548) | การยกเว้นรัษฎากร เพิ่มความ (70) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ กำหนดให้เงินได้พึงประเมินเท่าจำนวนเงินที่บริจาคให้แก่ส่วนราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยสำหรับเงินได้พึงประเมินประจำปี พ.ศ. 2547 ที่ต้องยื่นรายการในปี พ.ศ. 2548 เป็นต้นไป แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 252 (พ.ศ.2548) | กำหนดให้เงินได้พึงประเมินของผู้ได้รับความเสียหายจากธรณีพิบัติภัยเป็นเงินได้ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ |
ฉบับที่ 251 (พ.ศ.2548) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเลิกความในข้อ 6 ทวิ และ ข้อ 6 จัตวา แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 186 (พ.ศ. 2534)ฯ และให้ใช้ความแทน การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ของเจ้าหนี้ซึ่งเป็นสถาบันการเงิน และของเจ้าหนี้อื่น ในส่วนของหนี้ที่เจ้าหนี้ดังกล่าวได้ปลดหนี้ให้แก่ลูกหนี้ในระหว่างวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2548 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 อันเนื่องมาจากการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 186 |
ฉบับที่ 250 (พ.ศ.2548) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเลิกความ (69) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ และให้ใช้ความแทน ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสำหรับเงินได้พึงประเมินที่เป็นดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารในราชอาณาจักรประเภทเงินฝากประจำที่มีระยะเวลาการฝากตั้งแต่หนึ่งปีขึ้นไปฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 (ยกเลิกโดยกฎกระทรวง (ฉบับที่ 339)ฯ) |
ฉบับที่ 249 (พ.ศ.2548) | การยกเว้นรัษฎากร ยกเลิกความ (21) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ และให้ใช้ความแทน ยกเว้นภาษีเงินได้สำหรับเงินได้พึงประเมินที่ได้รับจากพันธบัตรและหุ้นกู้เพื่อส่งเสริมเกษตรกรรม พาณิชยกรรม หรืออุตสาหกรรมฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 248 (พ.ศ.2547) | กฎกระทรวง ฉบับที่ 248 (พ.ศ. 2547) ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร ให้เพิ่มความ (68) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับเงินได้พึงประเมินหลังหักค่าใช้จ่ายและหักลดหย่อนเท่าจำนวนเงินที่ได้บริจาคเพื่อการกีฬาให้แก่การกีฬาฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 247 (พ.ศ.2547) | กฎกระทรวง ฉบับที่ 247 (พ.ศ. 2547) ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยกองทุนสำรองเลี้ยงชีพให้ ยกเลิกความข้อ 8 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 183 (พ.ศ. 2533)ฯ และให้ใช้ความแทน เพื่อเป็นการส่งเสริมให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่จัดสรรหรือสำรองเงินไว้เพื่อจ่ายในกรณีที่ลูกจ้างออกจากงาน นำเงินดังกล่าวมาจดทะเบียนเป็นกองทุนสำรองเลี้ยงชีพหรือนำเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่ได้จดทะเบียนไว้แล้วเพิ่มมากขึ้น แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 183 |
ฉบับที่ 246 (พ.ศ.2547) | กฎกระทรวง ฉบับที่ 246 (พ.ศ. 2547) ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร กำหนดให้เงินได้เท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ หรือกองทุนรวมหุ้นระยะยาวตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และเงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่ได้รับเนื่องจากการขายหน่วยลงทุนคืนให้แก่กองทุนดังกล่าวเป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำมาคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 245 (พ.ศ.2547) | กฎกระทรวง ฉบับที่ 245 (พ.ศ. 2547) ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร ให้เพิ่มความ (64) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ กำหนดให้เงินบำเหน็จดำรงชีพตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญข้าราชการ และกฎหมายว่าด้วยกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ เป็นเงินได้พึงประเมินที่ไม่ต้องนำมารวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 244 (พ.ศ.2547) | กฎกระทรวง ฉบับที่ 244 (พ.ศ. 2547) ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร ให้เพิ่มความ (63) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ กำหนดให้เงินได้จากการขายข้อตกลงซื้อขายล่วงหน้าเฉพาะกรณีที่ไม่มีการส่งมอบสินค้าเกษตร เป็นเงินได้ พึงประเมินที่ไม่ต้องนำมารวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 243 (พ.ศ.2547) | ขอปรับปรุงชื่อเป็น กฎกระทรวง ฉบับที่ 243 (พ.ศ. 2547) ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ ยกเลิกความในข้อ 6 ทวิ และ ข้อ 6 จัตวา แห่งกฎกระทรวงฉบับที่ 186 (พ.ศ. 2534)ฯ และให้ใช้ความแทน ขยายเวลาการกำหนดให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีสำหรับการจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ของเจ้าหนี้ซึ่งเป็นสถาบันการเงินหรือของเจ้าหนี้อื่น สำหรับส่วนของหนี้ที่ได้ปลดหนี้ให้แก่ลูกหนี้อันเนื่องมาจากการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 186 |
ฉบับที่ 242 (พ.ศ.2546) | กฎกระทรวง ฉบับที่ 242 (พ.ศ. 2556) ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ ยกเลิกความในข้อ 6 ทวิ และ ข้อ 6 จัตวา แห่งกฎกระทรวงฉบับที่ 186 (พ.ศ. 2534)ฯ และให้ใช้ความแทน ขยายเวลาการกำหนดให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีสำหรับการจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ของเจ้าหนี้ซึ่งเป็นสถาบันการเงินหรือของเจ้าหนี้อื่น สำหรับส่วนของหนี้ที่ได้ปลดหนี้ให้แก่ลูกหนี้อันเนื่องมาจากการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 186 |
ฉบับที่ 241 (พ.ศ.2546) | กฎกระทรวง ฉบับที่ 241 (พ.ศ. 2556) ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร ให้เพิ่มความ (62) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ ให้เงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ อสังหาริมทรัพย์พร้อมที่ดิน ห้องชุด เป็นเงินได้ที่ได้รับยกเว้น แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 240 (พ.ศ.2545) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร ให้เพิ่มความ (61) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ กำหนดเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ ประเภทค่าเบี้ยประกันภัย แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 239 (พ.ศ.2545) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร ให้เพิ่มความ (60) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126(พ.ศ. 2509)ฯ กำหนดให้ดอกเบี้ยและรางวัลสลากออมทรัพย์ของ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็นเงินได้พึงประเมิน ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 238 (พ.ศ.2545) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยภาษีเงินได้ ยกเลิกความใน (ก) ใน (3) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 144 (พ.ศ. 2522)ฯ และให้ใช้ความแทน แก้ไขอัตราการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย สำหรับการจ่ายค่าแสดงภาพยนตร์หรือโทรทัศน์ให้แก่นักแสดงสาธารณะที่ เป็นนักแสดงภาพยนตร์หรือโทรทัศน์ซึ่งมีภูมิลำเนาอยู่ในต่างประเทศ ฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 144 |
ฉบับที่ 237 (พ.ศ.2545) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ ยกเลิกความในข้อ 6 ทวิ และ ข้อ 6 จัตวา แห่งกฎกระทรวง |
ฉบับที่ 236 (พ.ศ.2545) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร ให้เพิ่มความ (59) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ กำหนดให้เงินได้เท่าจำนวนที่จ่ายเป็นดอกเบี้ยเงินกู้ยืมให้แก่กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ สำหรับการกู้ยืมเงินเพื่อซื้อ เช่าซื้อ หรือสร้างอาคารที่อยู่อาศัยเป็นเงินได้พึงประเมินที่ไม่ต้องนำมาคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 235 (พ.ศ.2545) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร ให้เพิ่มความ (58) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ เงินได้พึงประเมินที่เป็นเงินปันผลที่ได้รับจากการถือหุ้นในบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งจัดตั้งขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบกิจการธุรกิจเงินร่วมลงทุนและผลประโยชน์ที่ได้จากการโอนหุ้นของบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลดังกล่าวได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 234 (พ.ศ.2544) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยภาษีเงินได้ แก้ไขเพิ่มเติมการกำหนดให้มีการหักภาษี ณ ที่จ่าย สำหรับการจ่ายเงินได้พึงประเมินจาก ที่กำหนดไว้ตาม กฎกระทรวง ฉบับที่ 144 (พ.ศ. 2522)ฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 144 |
ฉบับที่ 233 (พ.ศ.2544) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร กำหนดให้เงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่ครูใหญ่หรือครูโรงเรียนเอกชนได้รับจากกองทุนสงเคราะห์ตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน กรณีครูใหญ่หรือครูโรงเรียนเอกชนออกจากงานฯ เป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำมาคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา แก้ไขเพิ่มเติม แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 232 (พ.ศ.2544) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร กำหนดให้เงินได้เท่าจำนวนที่จ่ายเป็นดอกเบี้ยเงินกู้ยืมให้แก่นิติบุคคลเฉพาะกิจ ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อดำเนินการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยนิติบุคคลเฉพาะกิจเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ เป็นเงินได้พึงประเมินที่ไม่ต้องนำมาคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 231 (พ.ศ.2544) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร กำหนดให้ดอกเบี้ยเฉพาะส่วนที่เกิดขึ้นก่อนการเป็นผู้ทรงตั๋วเงินหรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ของผู้มีเงินได้ เป็นเงินได้พึงประเมินที่ไม่ต้องนำมาคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ แก้ไขเพิ่มเติม แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 230 (พ.ศ.2544) | ให้เงินได้เท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าซื้ออาคาร อาคารพร้อมที่ดิน ห้องชุดหรือที่ดินพร้อมกับว่าจ้างก่อสร้างอาคารลงบนที่ดินภายในกำหนดเวลา 1 ปี เป็นเงินได้ที่ได้รับยกเว้น (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 98)ฯ) |
ฉบับที่ 229 (พ.ศ.2544) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยภาษีเงินได้ กำหนดให้มีการหักภาษี ณ ที่จ่าย สำหรับการจ่ายเงินได้พึงประเมินเพิ่มขึ้นจากที่กำหนด ไว้ตาม กฎกระทรวง ฉบับที่ 144 (พ.ศ. 2522)ฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 144 |
ฉบับที่ 228 (พ.ศ.2544) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร กำหนดให้เงินได้เท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมฯ และเงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่ผู้ถือหน่วยลงทุนได้รับจากกองทุนรวมฯ และเงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่ได้รับเนื่องจากการขายหน่วยลงทุนคืนให้แก่กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพเป็นเงินได้พึงประเมินที่ต้องเสียภาษีเงินได้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 227 (พ.ศ.2544) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร ให้เพิ่มความ (54) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ กำหนดให้เงินได้เท่าที่ครูใหญ่หรือครูโรงเรียนเอกชนจ่ายเป็นเงินสมทบเข้ากองทุนสงเคราะห์ตามกฎหมาย ว่าด้วยโรงเรียนเอกชนเฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 300,000 บาท สำหรับปีภาษีนั้นเป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 226 (พ.ศ.2543) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของ (52) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ และให้ใช้ความแทน และเพิ่มความ (53) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ สำหรับดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่จ่ายสำหรับการกู้ยืมเงินเพื่อซื้อ เช่าซื้อ หรือสร้างอาคารที่อยู่อาศัยฯ เป็นเงินได้ พึงประเมินที่ไม่ต้องนำมารวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 225 (พ.ศ.2542) | การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ ขยายระยะเวลาการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีแก่สถาบันการเงินและเจ้าหนี้อื่นในการจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ ออกไปจนถึงปี พ.ศ. 2544 และเรื่องการจำหน่ายหนี้สูญ จากบัญชีลูกหนี้ การตัดจำหน่ายลูกหนี้จัดชั้นสูญ และลูกหนี้จัดชั้นสงสัยจะสูญที่ได้กันเงินสำรองครบร้อยละ 100 เป็นหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ได้ เช่นเดียวกับสถาบันการเงิน แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 186 |
ฉบับที่ 224 (พ.ศ.2542) | การยกเว้นรัษฎากร กำหนดให้เงินได้เท่าจำนวนที่ได้จ่ายเป็นดอกเบี้ยเงินกู้ยืมให้แก่กองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์เพื่อแก้ไขปัญหาในระบบสถาบันการเงินฯ กองทุนรวมเพื่อแก้ไขปัญหาในระบบสถาบันการเงินฯ เป็นเงินได้พึงประเมินที่ไม่ต้องนำมาคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 223 (พ.ศ.2542) | การยกเว้นรัษฎากร กำหนดให้เงินได้พึงประเมินเฉพาะที่เป็นผลประโยชน์ที่ได้จากการโอนตั๋วเงินหรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ใด ๆ ที่ไม่มีดอกเบี้ยเพียงอย่างเดียว เป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 222 (พ.ศ.2542) | ภาษีเงินได้ แก้ไขเพิ่มเติมจำนวนค่าสิ่งของที่ให้แก่บุคคลที่ได้รับการรับรองหรือรับบริการให้สูงขึ้น และแก้ไขเพิ่มเติมจำนวนเงินค่ารับรอง และค่าบริการที่จะนำมาหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ เพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลฯ และกำหนดวงเงินขั้นสูงที่ให้นำมาหักเป็นรายจ่ายไว้ด้วย แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 143 |
ฉบับที่ 221 (พ.ศ.2542) | การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ เพื่อส่งเสริมให้มีการจำหน่ายลูกหนี้จัดชั้นสูญและลูกหนี้ จัดชั้นสงสัยจะสูญฯ จากบัญชีลูกหนี้ของสถาบันการเงิน ในส่วนของหนี้ที่เป็นลูกหนี้จัดชั้นสูญและลูกหนี้จัดชั้นสงสัยจะสูญ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 186 |
ฉบับที่ 220 (พ.ศ.2542) | การขายสินค้าหรือการให้บริการอื่นตามมาตรา 86/5(4) แห่งประมวลรัษฎากร กำหนดให้ใบกำกับภาษีของตัวแทนผู้ประกอบการ ฯ มีรายการเป็นอย่างอื่นได้ตามมาตรา 86/5(4) แห่งประมวลรัษฎากร แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 198 |
ฉบับที่ 219 (พ.ศ.2542) | เงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นจากการโอนกรรมสิทธิ์อสังหาริมทรัพย์ ในโครงการเขื่อนคลองท่าด่าน |
ฉบับที่ 218 (พ.ศ.2542) | การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ กำหนดให้เจ้าหนี้อื่นที่มิใช่สถาบันการเงินสามารถจำหน่าย หนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ได้ตามประมวลรัษฎากร แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 186 |
ฉบับที่ 217 (พ.ศ.2542) | การยกเว้นรัษฎากร กำหนดให้ค่าชดเชยที่ลูกจ้างได้รับตามกฎหมาย ว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน และค่าชดเชยที่พนักงานได้รับตามกฎหมายว่าด้วยพนักงานรัฐวิสาหกิจ สัมพันธ์ แต่ไม่รวมถึงค่าชดเชยที่ลูกจ้างหรือพนักงานได้รับเพราะเหตุเกษียณอายุหรือ สิ้นสุดสัญญาจ้าง เป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษี เงินได้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 216 (พ.ศ.2541) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ กำหนดให้เจ้าหนี้จำหน่าย หนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ในส่วนที่ได้ปลดหนี้หรือประนอมหนี้ให้ลูกหนี้ตามแผนฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ ที่ศาลได้มีคำสั่งเห็นชอบตามกฎหมาย ว่าด้วยล้มละลายได้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 186 |
ฉบับที่ 215 (พ.ศ.2541) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับเงินได้พึงประเมินที่เป็นผลประโยชน์ที่ได้จากการควบเข้ากัน หรือโอนกิจการกำหนดให้แก่กันฯ ซึ่งตีราคาเป็นเงินได้เกินกว่าเงินทุน เป็นเงินได้พึงประเมิน ที่ผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาได้รับยกเว้นไม่ต้อง รวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 214 (พ.ศ.2541) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร กำหนดให้เงินได้จากการโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในที่ดินโดยไม่มีค่าตอบแทน ให้แก่วัด วัดบาดหลวงโรมันคาธอลิค หรือมัสยิดฯ ไม่เกินห้าสิบไร่ เป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษี แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 213 (พ.ศ.2541) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร กำหนดให้รางวัลบัตรออมทรัพย์ของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรเป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 212 (พ.ศ.2541) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ กำหนดให้สถาบันการเงินสามารถจำหน่ายหนี้สูญในส่วนของหนี้ ที่ได้ปลดหนี้ให้ลูกหนี้จากบัญชีลูกหนี้ได้ตามประมวลรัษฎากร หากการปลดหนี้นั้นมีผลมาจากการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 186 |
ฉบับที่ 211 (พ.ศ.2541) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร กำหนดให้ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสำหรับเงินได้พึงประเมินที่เป็นเงินเดือนหรือค่าตอบแทนที่ เจ้าหน้าที่ของศูนย์วิจัยวนเกษตรนานาชาติซึ่งเป็นคนต่างด้าวและไม่มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย ได้รับเนื่องจากการเข้ามาทำงานในประเทศไท แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 210 (พ.ศ.2541) | ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร กำหนดให้ดอกเบี้ยพันธบัตรออมสินรุ่นพันธบัตรเงินฝากช่วยชาติเป็นเงินได้ พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 209 (พ.ศ.2540) | การยกเว้นรัษฎากร กำหนดให้เงินที่สมาชิก กองทุนจ่ายเป็นเงินสะสม และเงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่ได้รับจากกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการฯ เป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับ ยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษี แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 208 (พ.ศ.2540) | การยกเว้นรัษฎากร กำหนดให้เงินที่สมาชิกกองทุนจ่ายเป็นเงินสะสม และเงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่ได้รับจากกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการฯ เป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษี แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 207 (พ.ศ.2540) | การยกเว้นรัษฎากร กำหนดให้เงินได้พึงประเมินที่เป็นผลประโยชน์ที่ได้จากการควบกิจการฯ ซึ่งตีราคาเป็นเงินได้เกินกว่าเงินทุนฯ เป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 206 (พ.ศ.2540) | การยกเว้นรัษฎากร ให้เพิ่มความ (41) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ ให้เงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ อสังหาริมทรัพย์พร้อมที่ดิน ห้องชุด เป็นเงินได้ที่ได้รับยกเว้น แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 205 (พ.ศ.2540) | การยกเว้นรัษฎากร กำหนดให้เงินได้ที่คณะกรรมการบริหาร “ทุนการกุศลสมเด็จพระเทพฯ” ได้รับเพื่อประโยชน์ของ “ทุนการกุศลสมเด็จพระเทพฯ” เป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 204 (พ.ศ.2539) | การยกเว้นรัษฎากร ให้เพิ่มความ (39) ของข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)ฯ ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับเงินได้พึงประเมินที่เป็นเงินเดือนหรือค่าจ้างที่คนประจำเรือได้รับเนื่องจากการปฏิบัติงานบนเรือเดินทะเลที่ใช้ในการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 126 |
ฉบับที่ 203 (พ.ศ.2539) | ภาษีเงินได้ เพิ่มความ (ค) ของข้อ 2(7) แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 144 (พ.ศ. 2522)ฯ ลดอัตราการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย สำหรับเงินได้พึงประเมินที่เป็นค่าเช่าเรือตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการพาณิชยนาวีฯ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 144 |
ฉบับที่ 202 (พ.ศ.2539) | กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของข้อ 8 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 183 (พ.ศ. 2533)ฯ และให้ใช้ความแทน เพื่อเป็นการส่งเสริมให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่จัดสรรหรือสำรองเงินไว้เพื่อ จ่ายในกรณีที่ลูกจ้างออกจากงาน นำเงินดังกล่าวมาจดทะเบียนเป็นกองทุนสำรองเลี้ยงชีพหรือนำเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่ได้จดทะเบียนไว้แล้วเพิ่มมากขึ้น แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 183 |
ฉบับที่ 201 (พ.ศ.2539) | ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาให้กับค่าตอบแทนจากการโอนกรรมสิทธิ์ ในอสังหาริมทรัพย์ในโครงการพัฒนาลุ่มน้ำป่าสัก |
ฉบับที่ 198 (พ.ศ.2538) | กำหนดลักษณะผู้ประกอบการตัวแทนที่ออกใบกำกับภาษี |
ฉบับที่ 189 (พ.ศ.2534) | ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มบางกรณี |
ฉบับที่ 188 (พ.ศ.2534) | กรณีอื่นที่ถือเป็นการขายตามมาตรา 77/1(8) |
ฉบับที่ 186 (พ.ศ.2534) | หลักเกณฑ์การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ |
ฉบับที่ 183 (พ.ศ.2533) | หลักเกณฑ์กองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่ถือเป็นรายจ่ายได้ |
ฉบับที่ 161 (พ.ศ.2526) | หลักเกณฑ์การให้ดอกเบี้ยแก่ผู้ได้รับเงินคืนภาษีอากร |
ฉบับที่ 158 (พ.ศ.2526) | ยกเลิกโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 351 (พ.ศ.2562) |
ฉบับที่ 144 (พ.ศ.2522) | หลักเกณฑ์การหักภาษี ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 3 เตรส (คำสั่งกรมสรรพากร ที่ ท.ป.354/2566) |
ฉบับที่ 143 (พ.ศ.2522) | หลักเกณฑ์ค่ารับรองที่ถือเป็นรายจ่ายได้ |
ฉบับที่ 141 (พ.ศ.2521) | กำหนดกิจการที่ไม่ต้องทำและเก็บต้นขั้วหรือสำเนาใบรับ |
ฉบับที่ 134 (พ.ศ.2517) | ยกเลิกโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 350 (พ.ศ.2562) |
ฉบับที่ 129 (พ.ศ.2512) | เงินเพิ่มภาษีอากรตามมาตรา 3 ตรี สำหรับอากรแสตมป์ |
ฉบับที่ 126 (พ.ศ.2509) | เงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นตามมาตรา 42(17) |